หมวดหมู่ : Peng Am Gosh Q10 , 
แบรนด์ : Onnutta
Share
อาหารเสริม Peng Am Gosh Q10 ประกอบด้วย
L-Glutamine เป็นกรดอะมิโน ที่มีอยู่มากที่สุดภายในร่างกายหรือเซลล์ของกล้ามเนื้อ มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
L-Leucine , L-Valine , L-Isoleucine ทั้ง 3 ตัวนี้เป็นกรดอะมิโนจำเป็น (essential amino acid)
ซึ่งกรดอะมิโนทั้ง 3 ตัวนี้ เป็นกรดอะมิโนที่เรียกว่า Branched chain amino acids (BCAAs) มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
L-Arginine มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
L-Ornithine มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
L-Glutathione มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
Coenzyme Q10 การมีระดับ โคเอนไซม์ คิวเทนในร่างกายเพียงพอ จะทำให้เนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยโคเอนไซม์ คิวเทน มีหน้าที่หลายอย่าง โดยมีหน้าที่ที่สำคัญ คือ
ตัวอย่างของปัญหา จากการที่ร่างกายขาดโกรทฮอร์โมน เช่น
โกรทฮอร์โมน (Growth Hormone)
คือ ฮอร์โมนหลักที่ผลิตจากต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ถูกสร้างขึ้นจากกรดอะมิโนหลายชนิด ทำหน้าที่
ในเด็กโกรทฮอร์โมน มีหน้าที่ ที่สำคัญมากคือเรื่องความสูง
ซึ่งโดยปกติแล้วการทำงานของโกรทฮอร์โมนจะช่วยยืดกระดูกให้ขยาย ทำให้ส่วนสูงเพิ่มขึ้นนั่นเอง
และอีกหนึ่งในวิธีเพิ่มความสูงคือ
ในแต่ละช่วงอายุก็จะมีการหลั่งไม่เท่ากัน โดยระดับการหลั่งจะเริ่มน้อยลง เมื่ออายุมากขึ้น
คือจะลดลง 14% ทุก 10 ปี แต่ก็อาจมีปัจจัยอื่นที่สามารถส่งผลกระทบต่อการหลั่งที่น้อยลงของโกรทฮอร์โมน เช่น อาหาร ความเครียด การนอนหลับ การออกกำลังกาย น้ำหนัก เป็นต้น
*อาหารเสริม ซึ่งอาหารเสริมเพิ่มความสูงที่หลายๆ คนอาจจะเห็นผ่านตา คือ กรดอะมิโน (Amino Acid)
(กรดอะมิโน เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีน ซึ่งโปรตีนเป็นส่วนประกอบสำคัญที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด)
โดยปกติโกรทฮอร์โมนจะหลั่งออกมาเฉพาะในตอนที่เราหลับลึกเท่านั้น ช่วง 24.00-01.30 น. ดังนั้นเราจึงมักได้ยินว่า ให้นอนในช่วงตั้งแต่ 4 ทุ่ม เพราะกว่าที่เราจะหลับสนิทนั้น ต้องใช้เวลานั่นเอง
หากร่างกายขาดโกรทฮอร์โมน
จะมีผล ทำให้เกิดการแก่ชรา และโรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับความชรา มีผลต่อการลดลงของสมรรถนะ และการเคลื่อนไหวของร่างกาย(คือไม่กระฉับกระเฉง) ดังนั้น การเพิ่มโกรทฮอร์โมนเป็นหนทางการเพิ่มความอ่อนเยาว์ และคืนความกระชุ่มกระชวยให้แก่ร่างกาย
โดยในบรรดากรดอะมิโนหลายๆตัว พบว่า บางตัวสามารถกระตุ้นการสร้างโกรทฮอร์โมนได้ เช่น
L-Glutamine , L-Arginine , L-Ornithine เป็นต้น โดยกรดอะมิโนเหล่านี้ จะทำงานเสริมกัน ซึ่งจะเป็นตัวกระตุ้นการสร้างโกรทฮอร์โมนได้
อย. 13-1-17565-5-0294